ผู้เขียน หัวข้อ: ผลวิจัยอิตาลีเผย สุภาพบุรุษสเปิร์มน้อยเสี่ยงรักษามีบุตรยาก  (อ่าน 1876 ครั้ง)

ออฟไลน์ health108

  • medtech ปี 1
  • *
  • กระทู้: 3
ผลวิจัยของประเทศอิตาลีแสดงเห็นว่า ผู้ชายที่จำนวนสเปิร์มน้อยนอกจากเสี่ยงรักษามีบุตรยากแล้ว ยังเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพอื่นตามมา เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง  มีปริมาณไขมันและคอเรสเตอรอลสะสมในร่างกายสูง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจ รวมถึงโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง

รองศาสตราจารย์ประจำมหาวิทยาลัยพาโดวาของอิตาลี หัวหน้าทีมวิจัยต้นเหตุการรักษามีบุตรยากในผู้ชาย เผยว่าการตรวจนับและนำมาวิเคราะห์จำนวนสเปิร์มของผู้ชาย 5,177 คนที่เผชิญปัญหามีบุตรยาก พบว่านอกจากมีจำนวนสเปิร์มน้อยแล้ว ยังมีความเสี่ยง “โรคอ้วนลงพุง” มากกว่าคนอื่นถึง 20%

เสี่ยงรักษามีบุตรยาก เป็นโรคอ้วนลงพุง จนนำไปสู่โรคอื่น ๆ ตามมา

ผู้ชายที่จำนวนสเปิร์มน้อย ต้องเผชิญกับความเสี่ยงรักษามีบุตรยาก ยังเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงที่นำไปสู่โรคอื่น ๆ ตามมาได้ด้วย เนื่องจากอาการของโรคที่เกิดจากระบบเผาพลาญในร่างกายทำงานผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีน้ำหนักเกินและมีค่าดัชนีมวลกายสูงเกินเกณฑ์ ซึ่งเสี่ยงเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองตามในอนาคต

หัวหน้าทีมวิจัยต้นเหตุการรักษามีบุตรยากในผู้ชาย https://ibabyfertility.com/infertility/ เผยว่า แนวโน้มการเกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นผลของสเปิร์มลดจำนวนลงในผู้ชาย จัดเป็นตัวการบั่นทอนคุณภาพชีวิตและทำให้มีอายุขัยสั้นลง หากปล่อยไว้ก็อาจส่งผลต่อการเกิดของประชากรได้

สเปิร์มน้อยเพิ่มความเสี่ยงต่อการักษามีบุตรยาก และทำให้ผู้ชายดูเหมือนผู้หญิง

ผู้ชายที่มีจำนวนสเปิร์ม หรือน้ำอสุจิน้อยกว่าระดับปกติ ไม่เพียงแค่เสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยากและโรคแทรกซ้อน เพราะมีแนวโน้มสูงกว่าคนธรรมดาถึง 12 เท่า ที่ต้องเผชิญกับปริมาณฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน หรือฮอร์โมนเพศชายลดระดับลง จนส่งผลให้มวลกล้ามเนื้อลดลง นานวันเข้าความหนาแน่นของกระดูกก็ลดลง จนทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนตามมา

“หากผู้ชายมีสุขภาพที่ดีขึ้น ก็อาจลดความเสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยากได้” หัวหน้าทีมวิจัยกล่าว โดยระบุเพิ่มเติมว่า จึงต้องมีการตรวจสอบวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการเจริญพันธ์ และที่สำคัญต้องมีการตรวจคัดกรองโรคที่แฝงอยู่ในตัวผู้ชายด้วย เพราะการมีสุขภาพที่ดีของฝ่ายช่วยลดความเสี่ยงต่อปัญหามีบุตรยากได้.