กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจสเมียร์เลือดและความสัมพันธ์ทางคลินิก
ระหว่างวันที่ 17-20 มีนาคม 2557 รับจำนวนจำกัดเพียง 80 คนเท่านั้น
เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นครบรอบ 50 ปีและคณะเทคนิคการแพทย์ ครบรอบ 36 ปี กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระกิจในการให้ความรู้และพัฒนาวิชาชีพจึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจสเมียร์เลือดและความสัมพันธ์ทางคลินิก
1. หลักการและเหตุผล
การตรวจสเมียร์เลือดเป็นหัวใจของการตรวจเลือดแบบสมบูรณ์ (Complete Blood Count , CBC ) ซึ่งเป็นการตรวจพื้นฐานทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาที่มีให้บริการในทุกโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพทั่วไป ผลการตรวจ
เลือด แบบสมบูรณ์สามารถนำมาใช้ในการตรวจคัดกรองเพื่อประเมินภาวะสุขภาพประชาชนทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติ
และ ใช้ในการ วินิจฉัยโรค หรือภาวะผิดปกติทั้งที่เกิดจากโรคเลือดเองทั้งเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด
หรือ ที่ไม่ได้เกิด จากโรคเลือด โดยตรงแต่มีผลกระทบทำ ให้มีการเปลี่ยนแปลง ของระบบเลือด นอกจากนี้ยังใช้เพื่อ
ติดตาม ผลการรักษา และ ประเมินสุขภาพทั่วไป การตรวจเลือดแบบสมบูรณ์เป็นการตรวจพื้นฐานทางจุลทรรศน์
วินิจฉัยสามารถทำ ได้ง่าย ใช้เวลาสั้น แต่ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้ ที่รับผิดชอบการตรวจ ต้องมีความรู้พื้นฐาน มีทักษะ
มีประสบการณ์ ในการตรวจ สเมียร์เลือด และสามารถประมวล ผลเชื่อมโยง กับค่าการตรวจนับที่ได้จากเครื่องวิเคราะห์
อัตโนมัติ และ สามารถรายงานผลได้ อย่างถูกต้อง อันจะช่วยพัฒนางานเวชศาสตร์ชันสูตร ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ทำให้การดูแลสุขภาพประชาชนให้มีคุณภาพ ชีวิตดียิ่งขึ้นต่อไป
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อทบทวนและเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับการตรวจสเมียร์เลือด
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้การตรวจสเมียร์เลือดในโรคเลือดชนิดต่างๆด้วยกล้องจุลทรรศน์
2.3 เพื่อให้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการประเมินผลการตรวจสเมียร์เลือดกับความสัมพันธ์กับค่าการตรวจวัดที่ได้
จากเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ
2.4 เพื่อให้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการประเมินผลการตรวจสเมียร์เลือดกับความสัมพันธ์กับ อาการทางคลินิก
2.5 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากการตรวจสเมียร์เลือด
3. ผู้รับผิดชอบ
กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. ระยะเวลาและสถานที่
วันที่ 17 - 20 มีนาคม 2557 รวม 4 วัน ณ กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. วิทยากร
คณาจารย์จากกลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ค่าลงทะเบียน และ จำนวนที่รับ
ค่าลงทะเบียน 5,000 บาท จำนวนที่รับ 80 คน
------------------------------------------
http://ams.kku.ac.th/bloodsmear/
ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจสเมียร์เลือดและความสัมพันธ์ทางคลินิก
ระหว่างวันที่ 17-20 มีนาคม 2557 รับจำนวนจำกัดเพียง 80 คนเท่านั้น
เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นครบรอบ 50 ปีและคณะเทคนิคการแพทย์ ครบรอบ 36 ปี กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ตระหนักถึงภาระกิจในการให้ความรู้และพัฒนาวิชาชีพจึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจสเมียร์เลือดและความสัมพันธ์ทางคลินิก
1. หลักการและเหตุผล
การตรวจสเมียร์เลือดเป็นหัวใจของการตรวจเลือดแบบสมบูรณ์ (Complete Blood Count , CBC ) ซึ่งเป็นการตรวจพื้นฐานทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาที่มีให้บริการในทุกโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพทั่วไป ผลการตรวจ
เลือด แบบสมบูรณ์สามารถนำมาใช้ในการตรวจคัดกรองเพื่อประเมินภาวะสุขภาพประชาชนทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติ
และ ใช้ในการ วินิจฉัยโรค หรือภาวะผิดปกติทั้งที่เกิดจากโรคเลือดเองทั้งเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด
หรือ ที่ไม่ได้เกิด จากโรคเลือด โดยตรงแต่มีผลกระทบทำ ให้มีการเปลี่ยนแปลง ของระบบเลือด นอกจากนี้ยังใช้เพื่อ
ติดตาม ผลการรักษา และ ประเมินสุขภาพทั่วไป การตรวจเลือดแบบสมบูรณ์เป็นการตรวจพื้นฐานทางจุลทรรศน์
วินิจฉัยสามารถทำ ได้ง่าย ใช้เวลาสั้น แต่ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้ ที่รับผิดชอบการตรวจ ต้องมีความรู้พื้นฐาน มีทักษะ
มีประสบการณ์ ในการตรวจ สเมียร์เลือด และสามารถประมวล ผลเชื่อมโยง กับค่าการตรวจนับที่ได้จากเครื่องวิเคราะห์
อัตโนมัติ และ สามารถรายงานผลได้ อย่างถูกต้อง อันจะช่วยพัฒนางานเวชศาสตร์ชันสูตร ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ทำให้การดูแลสุขภาพประชาชนให้มีคุณภาพ ชีวิตดียิ่งขึ้นต่อไป
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อทบทวนและเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับการตรวจสเมียร์เลือด
2.2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้การตรวจสเมียร์เลือดในโรคเลือดชนิดต่างๆด้วยกล้องจุลทรรศน์
2.3 เพื่อให้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการประเมินผลการตรวจสเมียร์เลือดกับความสัมพันธ์กับค่าการตรวจวัดที่ได้
จากเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ
2.4 เพื่อให้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการประเมินผลการตรวจสเมียร์เลือดกับความสัมพันธ์กับ อาการทางคลินิก
2.5 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากการตรวจสเมียร์เลือด
3. ผู้รับผิดชอบ
กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. ระยะเวลาและสถานที่
วันที่ 17 - 20 มีนาคม 2557 รวม 4 วัน ณ กลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. วิทยากร
คณาจารย์จากกลุ่มวิชาจุลทรรศน์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ค่าลงทะเบียน และ จำนวนที่รับ
ค่าลงทะเบียน 5,000 บาท จำนวนที่รับ 80 คน
------------------------------------------
http://ams.kku.ac.th/bloodsmear/